คนสันกำแพงพบแขวงทางหลวงเชียงใหม่ หารือเร่งฟื้นฟูฉำฉาป่วย
|

คนสันกำแพงพบแขวงทางหลวงเชียงใหม่ หารือเร่งฟื้นฟูฉำฉาป่วย

เมื่อวันนี้ (3 พฤศจิ…

ชีวมณฑลกับคนเชียงดาว
|

ชีวมณฑลกับคนเชียงดาว

“พื้นที่สงวนชีวมณฑลดอยเชียงดาว” เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลแห่งใหม่ของโลก อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา นับเป็นผืนป่าทางภาคเหนือที่มีความสำคัญทั้งทางด้านระบบนิเวศพันธุ์ไม้และสัตว์ป่า รวมไปถึงวัฒนธรรมชุมชน ​​

ต้นฉำฉา หาทางออก
|

ต้นฉำฉา หาทางออก

อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เส้นทางก่อนเข้ามายังตัวอำเภอ เราจะเห็นต้นฉำฉาสองข้างทางซึ่งมีประวัติศาสตร์ไม่ต่างกับต้นยางนาริมถนนเชียงใหม่-ลำพูน เราเรียกถนนนี้ว่า ‘ถนนสายวัฒนธรรมสันกำแพง’ หรือบางคนก็เรียกว่า ‘ถนนสันกำแพงสายเก่า’ เนื่องจากปัจจุบันได้มีการสร้างถนนเส้นใหม่ไว้ใช้สัญจรเพื่อตอบสนองกับจำนวนประชากรขยายออกนอกเมืองมากขึ้น​

ต้นไม้ในวัด พื้นที่สีเขียวที่ไม่ควรมองข้าม
|

ต้นไม้ในวัด พื้นที่สีเขียวที่ไม่ควรมองข้าม

เมื่อพูดถึงต้นไม้ในวัด เราจะนึกถึงต้นโพธิ์ ต้นไทร ที่เป็นเสมือนต้นไม้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา  ทุก ๆ วัดจะต้องปลูกไว้อย่างน้อยหนึ่งต้น บางวัดที่มีพื้นที่กว้างก็ปลูกไว้หลายต้น ที่ปลูกไว้นานก็จะเป็นต้นไม้สูงใหญ่ แผ่กิ่งก้านสาขา ให้ร่มเงาแก่พุทธศาสนิกชนที่ไปวัด ทำบุญ ไหว้พระ ชาวล้านนาจะมีประเพณีหนึ่ง ที่จัดขึ้นทุก ๆ ปีช่วงวันสงกรานต์ คือ ‘งานแห่ไม้ค้ำสะหลี’ (ต้นสะหลีก็คือต้นโพธิ์)

Rethink about “ขยะ” ในเมืองใหญ่ มองผ่านชุมชนที่จัดการขยะด้วยตนเอง
|

Rethink about “ขยะ” ในเมืองใหญ่ มองผ่านชุมชนที่จัดการขยะด้วยตนเอง

ชวนดูเรื่องราวของชุมชนในเมืองเชียงใหม่ที่มีการจัดการขยะ พร้อมทั้งโมเดลการจัดการขยะแบบ ‘บ้าน ๆ’ ที่ไม่ธรรมดา ผ่านสายตาของชุมชนเล็ก ๆ ในเมืองใหญ่ กับ “Rethink about “ขยะ” ในเมืองใหญ่ มองผ่านชุมชนที่จัดการขยะด้วยตนเอง”

ท้องถิ่นกับการจัดการพื้นที่สีเขียว
| |

ท้องถิ่นกับการจัดการพื้นที่สีเขียว

ชวนมองการจัดการพื้นที่สีเขียวผ่านประสบการณ์การทำงานในพื้นที่ ‘ต้นยางนาสายเชียงใหม่-ลำพูน’​

ลำเหมืองสาธารณะกับภาคเกษตรชายขอบเมืองเชียงใหม่ ใกล้ถึงจุดวิกฤติ
|

ลำเหมืองสาธารณะกับภาคเกษตรชายขอบเมืองเชียงใหม่ ใกล้ถึงจุดวิกฤติ

ปัจจุบันภาคการเกษตรที่อยู่ในเขตรอบนอกเมืองเชียงใหม่กำลังเผชิญกับวิกฤติภัยแล้ง ขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตรอย่างหนัก อันเนื่องมาจากลำเหมืองสาธารณะที่เคยมีแต่เดิมโดนถมไปเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ชาวบ้านที่ยังต้องพึ่งพาการทำเกษตรกรรมต้องหาทางออกต่อเรื่องนี้อย่างเร่งด่วน