กิ๋นหอม ต๋อมม่วน ครวญค่าม้า: ชวนเชื่อมต่อกันผ่านจานอาหาร
11 ธันวาคม 2566 เมื่อวันที่ 9-…
คกก. ฉำฉาเตรียมเสนอแผนฟื้นฟูฉำฉา – สร้างความปลอดภัยใช้ถนน
12 ตุลาคม 2566 10 ตุลาคม 2566 …
เครือข่ายสันกำแพง “6 โหม้งโหล่งผญ๋า” จับมือ อบจ.เชียงใหม่ ขยายพื้นที่สีเขียวสันกำแพง
5 สิงหาคม 2566 เมื่อวันที่ 4 ส…
รายงานสรุปบทเรียน 3 ปี โครงการสร้างนักสื่อสารสิ่งแวดล้อมเชิงรุกฯ
รายงานสรุปบทเรียน โครงการสร้าง…
ผ่าเขา เข้าใจ ไฟป่า แผนการจัดการรับมือเอลณีโญ เชียงใหม่ เน้นป้องกัน ก่อนหมอกควันจะมา
2 กรกฎาคม 2566 หมดจากฤดูหมอกคว…
ไทม์ไลน์ ‘ถนนต้นฉำฉาสันกำแพง’ จากอดีตถึงปัจจุบัน และความท้าทายในอนาคต
เรื่อง: วิทย์ บุญ “อำเภอสันกำแ…
คู่มือ “สื่อ เปลี่ยน สิ่งแวดล้อม”
หนังสือ “Env Activist Media สื…
เสวนา ‘ไม้หมายเมือง เรื่องต้องเล่า’ ปลูกต้นไม้ไม่สนใจคุณภาพ อาจจะไม่ได้แล้ว
28 มิถุนายน 2566 เมื่อวันพุธที…
เปิดตัวแผนที่ท่องเที่ยวสันกำแพง “6 โหม้งโหล่งผญ๋า”
5 มิถุนายน 2566 ทิวทัศน์ขึ้นชื…
เสวนาเรื่องอาหาร: จากต้นน้ำการผลิตสู่ปลายน้ำการบริโภค
29 พฤษภาคม 2566 เมื่อวันที่ 17…
อาหาร/เรา/โลก
สื่อประชาธรรม ร่วมกับ The Good…
ประกาศผล สื่อคลิปวิดีโอ “สิ่งแวดล้อม (เมือง) เชียงใหม่ในสายตาคนท้องถิ่น”
3 พฤษภาคม 2566 ประกาศผลสื่อประ…
ประกาศผลสื่ออินโฟกราฟิก “สิ่งแวดล้อม (เมือง) เชียงใหม่ในสายตาคนท้องถิ่น”
3 พฤษภาคม 2566 ประกาศผลสื่อประ…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: เมืองคอง แอ่วไหนดี?
28 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: ก…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: ถ้ำเชียงดาว
27 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: น…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: บ้านต้นไม้ แม่แมะ
26 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: ศ…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: ผาดินแดง
25 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: อ…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: น้ำตกศรีสังวาลย์
24 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: ธ…
ชวนท่องเที่ยวเชียงดาวแบบรู้คุณค่าชุมชน และสิ่งแวดล้อม: บ้านปางมะโอ
22 เมษายน 2566 เรื่องและภาพ: อ…
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านเข้ารอบผลิตสื่อวิดีโอ-อินโฟกราฟิก 2566
10 เมษายน 2566 ผู้ผ่านเข้ารอบผ…
[ขยายเวลา] ประกวดสื่อ “สิ่งแวดล้อม (เมือง) เชียงใหม่ในสายตาคนท้องถิ่น”
2 เมษายน 2566 โครงการดังกล่าวเ…
ชาวหมอต้นไม้ทำอะไรบ้าง เพื่อเรียนรู้ ฟื้นฟู ดูแลฉำฉาสันกำแพง
1 เมษายน 2566 เช้าวันที่ 29 มี…
Happy Tree พาตัดแต่งต้นไม้แบบถูกที่ ถูกเวลา ด้วยฉบับความรู้รุกขกรรมอย่างครบเครื่อง
28 มีนาคม 2566 สื่อประชาธรรมชว…
หมอต้นไม้ให้ความรู้คนท้องถิ่น เตรียมฟื้นฟูฉำฉาสันกำแพง
27 มีนาคม 2566 เมื่อวันที่ 27 …
เชิญชวนประกวดสื่อ “สิ่งแวดล้อม (เมือง) เชียงใหม่ในสายตาคนท้องถิ่น”
22 มีนาคม 2566 โครงการดังกล่าว…
อาสาสมัครช่วยงานหมอต้นไม้ ดูแลฉำฉาสันกำแพง
28 กุมภาพันธ์ 2566 เมื่อวันที่…
เยาวรุ่นสื่อสารเพื่อเปลี่ยนแปลง!
เมื่อวันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2…
เกษตรอินทรีย์ จากทางเลือกสู่ทางรอดยั่งยืน
“เราเป็นคนกำหนดราคา เราส…
รับอาสาสมัครช่วยงานหมอต้นไม้ ดูแลฉำฉาสันกำแพง
15 กุมภาพันธ์ 2566 ต้นฉำฉาบนทา…
อ.บรรจง นำทีมนศ.ม.แม่โจ้สำรวจต้นฉำฉาบนถนนสายชม.-สันกำแพง เพื่อตรวจสุขภาพพร้อมติด tag
เมื่อวันที่ 30 มกราคมและ วันนี…
เสวนาคลองแม่ข่าใสแล้ว น้ำเสียเมืองเชียงใหม่ยังไงต่อ?
เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2566 ที่…
ผู้ว่าฯ ฟังเสียงปชช.สันกำแพง รับฟื้นฟูต้นฉำฉาให้สะอาด-สวยงาม เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
วันนี้ (20 มกราคม 2566) เวลาปร…
คลองแม่ข่าใสแล้ว น้ำเสียเมืองเชียงใหม่ยังไงต่อ?
สื่อประชาธรรมชวนร่วมงานเสวนาหั…
ผู้ว่าฯ เชียงใหม่ มีคำสั่งแต่งตั้งคกก. ดูแลต้นฉำฉาสันกำแพง มอบหมาย อ.สันกำแพงเป็นเจ้าภาพหลัก
เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2565 สำ…
เกษตรอินดี้: จากการพยาบาลผู้คนสู่การทำกุหลาบอินทรีย์
“เกษตรอินดี้ Organic farm” คือ…
มอบรางวัลฉำฉาของทุกคน เปลี่ยนสันกำแพงด้วยพลังเยาวชน
เมื่อวันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม 256…
ผู้ว่ารับแต่งตั้ง คกก. ดูแลฉำฉาบนถนนสันกำแพงสายเก่า กำชับต้องร่วมดูแลถนนให้สวยงาม ขยะไม่มี
วันนี้ (30 พฤศจิกายน 2565) เมื…
ประกาศผลการประกวดภาพวาด “ฉำฉาของทุกคน”
โครงการประกวดภาพวาด “ฉำฉ…
ฉำฉาของทุกคน Chamcha For All!
มูลนิธิสื่อประชาธรรม กลุ่มเยาว…
สภาลมหายใจเสนอรับมือฝุ่นควัน จังหวัดต้องมีการแจ้งภาวะวิกฤติเพื่อสุขภาพของประชาชน
เมื่อวาน (22 พฤศจิกายน 2565) เ…
เยาวชนมองสันทรายผ่านเมนูอาหาร
เมื่อวาน (12 พฤศจิกายน 2565) เ…
เปลี่ยนสันกำแพงด้วยพลังเยาวชน จาก โรงเรียนสันกำแพง ถึงโรงเรียนบ้านหนองโค้ง
เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2565 …
โหล่งฮิมคาวจัด กิจกรรม “ประกวดผลงานศิลปะงานกาดต่อนยอนตอนเซาะเศษแป๋งศิลป์”
ชุมชนโหล่งฮิมคาว บ้านมอญ ม.2 ต…
คนสันกำแพงพบแขวงทางหลวงเชียงใหม่ หารือเร่งฟื้นฟูฉำฉาป่วย
เมื่อวันนี้ (3 พฤศจิกายน 2565)…
สันกำแพง: Green, Art & Craft
สันกำแพง อำเภอหนึ่งในจังหวัดเช…
How to ดูฉำฉา
คำแนะนำจาก อาจารย์บรรจง สมบูรณ…
หน้าบ้านเฮา หลังบ้านเปิ้น กับน้องต้อน้ำปาเดินชุมชนคลองแม่ข่า
เรื่องและภาพ: นางสาว รุจิรางค์…
ชุมชนกับเศรษฐกิจสีเขียว ยังไงต่อ?
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม …
น้ำเสีย น้ำใส ยะไดเฮา ต้องใส่ใจ๋
เรื่องและภาพ รัชพล ศรีใส, สุธี…
ธุรกิจสีเขียว (Green Business) กับ Tamarind Village Hotel
เรื่องและภาพ ธนพล ผัดหลู่, เก้…
น้องถุงแซ่วจวนอู้จ๋า
ต๋อน ก๋านจัดก๋านขยะโดยชุมชนควร…
ชวนมอง “อนาคตต้นฉำฉากับคนสันกำแพง”
“ เราอยากจะสื่อสารและส่งต่อคำถ…
ชวนเยาวชนมองหลังบ้านของเมืองเชียงใหม่
“เห็นเชียงใหม่ด้านที่ดีม…
วัฒนธรรมขับเคลื่อนเมือง
อาจกล่าวได้ว่าเมืองเชียงใหม่เป…
ท่องเที่ยวเชียงดาว: เมื่อชุมชนลุกขึ้นจัดการการท่องเที่ยวผ่านมุมมองสิ่งแวดล้อม 
เรื่องและภาพ: กนกพร จันทร์พลอย…
ชวนเยาวชนมองพื้นที่สีเขียวผ่านต้นฉำฉาสันกำแพง
ส่วนหนึ่งจากความคาดหวังของกลุ่มเยาวชนในการอบรมเยาวชนพลเมืองเก๊าไม้ฉำฉาเมื่อวานนี้ (21 มีนาคม 2565) จัดโดยมูลนิธิสื่อประชาธรรม กลุ่มอนุรักษ์มรดกสันกำแพง โรงเรียนสันกำแพง และเขียวสวยหอม ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยใหม่เอี่ยม จ.เชียงใหม่
เมื่อพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ไม่ได้วัดกันที่ปริมาณ
ความต้องการหวนกลับคืนธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความเขียวของพืชพันธุ์ แม้จะต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่เมืองก็ตาม เราจึงไม่สามารถปฏิเสธความเป็นมนุษย์ที่ต้องพึ่งพิงอยู่กับธรรมชาติได้ แม้จะเป็นเพียงภาพ ‘ความเขียว’ ในเมืองก็ตาม
ประสบการณ์การต่อสู้ต้นฉำฉาสันกำแพง มากกว่าความรักคือระบบการดูแล
ประวัติศาสตร์การต่อสู้เรื่องการดูแลรักษาต้นไม้ของคนสันกำแพงที่อาจจะเรียกว่าเป็น “ผู้มาก่อนกาล” แต่เรื่องราวการต่อสู้ของกลุ่มอนุรักษ์ต้นฉำฉาที่เรียกขานตัวเองว่า “กลุ่มอนุรักษ์มรดกสันกำแพง” นั้นกลับไม่ปรากฏในสื่อใด ๆ หรืออาจจะมีก็น้อยมาก
สร้างการสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมนั้นสำคัญไฉน: คนรุ่นใหม่มองอนาคตพื้นที่สีเขียวสันกำแพง
หลังจากเราได้พูดคุยเรื่องราวประวัติศาสตร์การต่อสู้เรื่องต้นฉำฉาในอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ในบทความ ประสบการณ์การต่อสู้ต้นฉำฉาสันกำแพง มากกว่าความรักคือระบบการดูแล เพื่อปะติดปะต่อเรื่องราวพื้นที่สีเขียวในสันกำแพง ซึ่งต้นฉำฉาก็ถือเป็นหนึ่งในพื้นที่สีเขียวของสันกำแพง เราจึงได้เสนอเรื่องเล่านี้เพื่อเป็นหมุดหมายสำคัญเพื่อสานต่อพื้นที่สีเขียวในสันกำแพงต่อมายังปัจจุบันและอนาคต เพื่อนำไปสู่การถกเถียงประเด็นปัญหา สร้างการมีส่วนร่วมในการสื่อสารนำไปสู่การร่วมกันแก้ไขปัญหาต่อไป
รู้หรือไม่? ต้นฉำฉา บนถนนสันกำแพง (สายเก่า) กำลังป่วยหนัก
เปิดข้อมูลสำรวจเมื่อปี 2562 จากการสำรวจโดยสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดเชียงใหม่, อาสาสมัครพิทักษ์ยางนา และเครือข่ายเขียวสวยหอม พบว่าจำนวนของต้นฉำฉำหรือจามจุรีบนถนนสันกำแพง (สายเก่า) มีทั้งหมด 203 ต้น บนพื้นที่ของตำบลหนองป่าครั่ง, สันกลาง, ต้นเปาและสันกำแพง
ชีวมณฑลกับคนเชียงดาว
“พื้นที่สงวนชีวมณฑลดอยเชียงดาว” เป็นพื้นที่สงวนชีวมณฑลแห่งใหม่ของโลก อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา นับเป็นผืนป่าทางภาคเหนือที่มีความสำคัญทั้งทางด้านระบบนิเวศพันธุ์ไม้และสัตว์ป่า รวมไปถึงวัฒนธรรมชุมชน
เกษตรลดหมอกควัน
ด้วยกระแสปัญหาเรื่องหมอกควันหร…
ต้นฉำฉากับลมหายใจสันกำแพง
กิจกรรมนี้จัดขึ้นเพื่อต้องการขับเคลื่อนพลังของผู้คนที่ต้องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ให้ได้รับการดูแลรักษาโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และได้นำเอาต้นฉำฉาและประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมมาเป็นประเด็นหลักในการสร้างการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคนในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหาความทรุดโทรมของต้นฉำฉาตลอดสองแนวข้างถนนเชียงใหม่-สันกำแพง ที่ขาดการจัดการอย่างเข้าใจและมีส่วนร่วม
คน + คลอง และแผนพัฒนาคลองแม่ข่า!
+ คลอง และแผนพัฒนาคลองแม่ข่าในห้วงเวลากว่า 10 กว่าปีที่ผ่านมา คลองแม่ข่าเพิ่งจะได้รับสนใจจากหลายหน่วยงาน มีแผนพัฒนามากมายที่มาสู่การพัฒนาคลองแม่ข่า แต่หากมองย้อนหลังในช่วงที่เมืองเชียงใหม่ยังไม่ได้มีการขยายตัวไปมากเท่าไหร่ เมืองทั้งเมืองหันหลังให้คลองแม่ข่า
ต้นฉำฉา หาทางออก
อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เส้นทางก่อนเข้ามายังตัวอำเภอ เราจะเห็นต้นฉำฉาสองข้างทางซึ่งมีประวัติศาสตร์ไม่ต่างกับต้นยางนาริมถนนเชียงใหม่-ลำพูน เราเรียกถนนนี้ว่า ‘ถนนสายวัฒนธรรมสันกำแพง’ หรือบางคนก็เรียกว่า ‘ถนนสันกำแพงสายเก่า’ เนื่องจากปัจจุบันได้มีการสร้างถนนเส้นใหม่ไว้ใช้สัญจรเพื่อตอบสนองกับจำนวนประชากรขยายออกนอกเมืองมากขึ้น
ต้นไม้ในวัด พื้นที่สีเขียวที่ไม่ควรมองข้าม
เมื่อพูดถึงต้นไม้ในวัด เราจะนึกถึงต้นโพธิ์ ต้นไทร ที่เป็นเสมือนต้นไม้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา ทุก ๆ วัดจะต้องปลูกไว้อย่างน้อยหนึ่งต้น บางวัดที่มีพื้นที่กว้างก็ปลูกไว้หลายต้น ที่ปลูกไว้นานก็จะเป็นต้นไม้สูงใหญ่ แผ่กิ่งก้านสาขา ให้ร่มเงาแก่พุทธศาสนิกชนที่ไปวัด ทำบุญ ไหว้พระ ชาวล้านนาจะมีประเพณีหนึ่ง ที่จัดขึ้นทุก ๆ ปีช่วงวันสงกรานต์ คือ ‘งานแห่ไม้ค้ำสะหลี’ (ต้นสะหลีก็คือต้นโพธิ์)
ถอดบทเรียน ต้นยางนาสารภีสู่การจัดการต้นฉำฉาสันกำแพง
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2564 มูลนิธิสื่อประชาธรรมจัดงาน เวทีเครือข่ายสร้างพื้นที่สีเขียว อ.สันกำแพง จัดโดยโครงการสร้างนักสื่อสารสิ่งแวดล้อมเชิงรุกฯ (มูลนิธิสื่อประชาธรรม) ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์มรดกสันกำแพงและเครือข่ายเชียงใหม่ เขียวสวยหอม ณ ห้องประชุมโรงเรียนโอท็อป ข่วงสันกำแพง
Rethink about “ขยะ” ในเมืองใหญ่ มองผ่านชุมชนที่จัดการขยะด้วยตนเอง
ชวนดูเรื่องราวของชุมชนในเมืองเชียงใหม่ที่มีการจัดการขยะ พร้อมทั้งโมเดลการจัดการขยะแบบ ‘บ้าน ๆ’ ที่ไม่ธรรมดา ผ่านสายตาของชุมชนเล็ก ๆ ในเมืองใหญ่ กับ “Rethink about “ขยะ” ในเมืองใหญ่ มองผ่านชุมชนที่จัดการขยะด้วยตนเอง”
น้ำสมุนไพร พื้นบ้านต้านโควิด 19
เนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด 19 ที่มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกวันถึงแม้ภาครัฐจะมีแนวทางและมาตรการให้ประชาชนได้ปฏิบัติ แต่คิดให้อย่างละเอียดและเป็นการพึ่งตนเองนั้น บ้านเกษตรพัฒนา หมู่15 ป่าไผ่ สันทราย จึงได้มีการถอดบทเรียนจากการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2561 นั้น
ท้องถิ่นกับการจัดการพื้นที่สีเขียว
ชวนมองการจัดการพื้นที่สีเขียวผ่านประสบการณ์การทำงานในพื้นที่ ‘ต้นยางนาสายเชียงใหม่-ลำพูน’
ลำเหมืองสาธารณะกับภาคเกษตรชายขอบเมืองเชียงใหม่ ใกล้ถึงจุดวิกฤติ
ปัจจุบันภาคการเกษตรที่อยู่ในเขตรอบนอกเมืองเชียงใหม่กำลังเผชิญกับวิกฤติภัยแล้ง ขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตรอย่างหนัก อันเนื่องมาจากลำเหมืองสาธารณะที่เคยมีแต่เดิมโดนถมไปเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ชาวบ้านที่ยังต้องพึ่งพาการทำเกษตรกรรมต้องหาทางออกต่อเรื่องนี้อย่างเร่งด่วน
กู่ลัวะปงไหว ป่าอนุรักษ์ของชุมชน พื้นที่สีเขียวสันกำแพงที่ไม่ได้มีแต่ฉำฉา
เวลาพูดถึงพื้นที่สีเขียวสันกำแพง เราจะมองเห็นแนวต้นฉำฉาบนถนนสายสันกำแพง -เชียงใหม่ ระยะทาง 11 กม.ที่มีผู้ปลูกต้นไม้ฉำฉาไว้ตลอดสองข้างทางเพื่อสร้างร่มเงาแก่ผู้สัญจรเมื่อกว่าหนึ่งร้อยปีมาแล้ว
มองพื้นที่สีเขียวผ่านสันกำแพง สู่การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง
เราได้ชวนชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานชุมชนโหล่งฮิมคาว ย่านสร้างสรรค์ในอำเภอสันกำแพง อีกทั้งเป็นประธานสภาลมหายใจ เชียงใหม่ ที่รวมตัวกันของทุกภาคส่วนเพื่อแก้ไขปัญหาหมอกควันของจังหวัดเชียงใหม่ทั้งในเชิงรณรงค์และเชิงนโยบาย มาพูดคุยถึงสถานการณ์พื้นที่สีเขียวในอำเภอสันกำแพงเพื่อสะท้อนให้เห็นภาพรวมของสถานการณ์พื้นที่สีเขียวในระดับประเทศ